สถานะเว็บไซต์

จำนวนผู้เข้าชม

1,948,720

จำนวนผู้ใช้งานขณะนี้

2

www.aodliumtong.com

ประวัติคณาจารย์

หลวงพ่อไปล่ วัดกำแพง

ประวัติข้อมูล หลวงพ่อไปล่ ฉันทสโร วัดกำแพง กรุงเทพฯ

เกิด                     วันอังคาร เดือน 6 ปีวอก พ.ศ.2403  เป็นคนบางบอนใต้ บางขุนเทียน ธนบุรี  เป็นบุตรของ นายเหลือ  นางทอง  ทองเหลือ

อุปสมบท               อายุ 23 ปี ตรงกับ พ.ศ. 2426  ณ พัทธสีมาวัดกำแพง

มรณภาพ               ปี 2482

รวมสิริอายุ             79 ปี 56 พรรษา

วัตถุมงคลที่ได้รับความนิยม

          วัตถุมงคลที่ขึ้นชื่อและได้รับความนิยมมากที่สุดของท่าน ได้แก่ เหรียญหล่อ ปี2478   ซึ่งสร้างขึ้นเนื่องในโอกาสมีอายุครบรอบ 75 ปี มี 2 พิมพ์ คือ เหรียญจอบ  และเหรียญรูปไข่   ซึ่งทั้งสองพิมพ์นี้ได้จัดว่าเป็นที่นิยมมากที่สุด  สร้างจากเนื้อโลหะผสมทองเหลือง  ด้านหลังเหรียญปรากฏอักษรภาษาไทยเป็นตัวนูนระบุว่า “ที่ระฤก ๔๗๘”        

พุทธคุณที่เล่าสืบทอดกันมา

หลวงพ่อไปล่  ฉันทสโร  วัดกำแพง  กรุงเทพฯ

 


 
ที่ตั้งและสภาพทั่วไป 
 วัดกาแพงตงอยเลขที่ ๒๙๙ ซอยเพชรเกษม๒๐ ถนนเพชรเกษม แขวงปากคลอง เขตภาษีเจริญ กรงเทพฯ ๑๐๑๖๐ ริมคลองบางหลวง(หรอเรยกวาคลองบางกอกใหญ)ตอนใน ช่วงที่เรียกกันวา “คลองชกพระ”โดยตั้งอยู่บนที่ดินทางด้านทิศใต้ของฝั่งคลองบริเวณหัวมุมปากคลองบางจาก ซึ่งเป็นคลองแยกจากคลองชักพระเขาไปทางทิศใต้ วัดกาแพงเป็นเจ้าของกรรมสิทธ์ที่ดินทั้งหมดประมาณ ๑๕ ไรโดยแยกเปนโฉนด ๒ ฉบบคอโฉนดเลขท ๑๓๘๐๒๘ มเนอทประมาณ ๑๑ ไร ๓ งาน ๙๗ ตารางวา (แผนผงท ๑) และอกฉบบเปนท่ดนอกประมาณ ๔ ไร อยอีกฝงของคลองบางจาก (ท่านเจ้าอาวาสแจ้งว่าเอกสารสญหาย แตยังไม่ได้ไปคัดสำเนาจากกรมที่ดิน) ที่ดินของวัดถูกแบ่งเปน ๒ สวน โดยมีคลองบางจากผ่านกลางที่ดินของวัด โดยพื้นที่สวนใหญ่อยู่ทางทิศด้านตะวันออกของคลองบางจากซึ่งเป็นที่ตั้งของเขตพุทธาวาส (แผนผังที่ ๒) อาณาเขตด้านทิศตะวนออกของคลองบางจาก 
- ทิศเหนือ จรดคลองชักพระ(คลองบางหลวง) 
- ทิศใต้ จรดที่ดินของเอกชน 
- ทิศตะวันออก จรดคูน้ำกันอาณาเขตเดิมกับวัดทองศาลางามปัจจุบันถูกถมหมดแล้ว 
- ทิศตะวันตก จรดคลองบางจาก 
 

ประวัติความเป็นมา 
ประวัติความเป็นมาของวัดไม่ปรากฏหลักฐานหรือมีขอมูลอ้างอิงใดๆ ว่าสร้างขึ้นสมัยใดสันนิษฐานว่าคงมีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตามคำบอกเล่าสืบทอดกันมา และคงไดรับการปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่หลายครั้ง แม้แต่ชื่อวัดก็ไม่ทราบชื่อเดิม ชื่อที่ใช้ในปัจจุบันก็เป็นชื่อซึ่งเรียกกันในหมู่ชาวพื้นถิ่นและเรียกกันมาเรื่อยๆ แต่หลักฐานที่เหลืออยูชัดเจนอย่างหนึ่งคือ เจดียบรรจุอัฐิทรงกลมทางทิศใต้ของพระอุโบสถ ที่สวนฐานมีแผ่นศิลาจำหลักข้อความซึ่งสรุปไดวา เจดียนี้สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ระลึกและใช้บรรจุอัฐิของ “พระพิศาลผลพานิช” ภายหลังจากทีได้จัดการฌาปนกิจศพที่วัดจักรวรรดิราชาวาส และเมื่อได้ไปค้นคว้าในเอกสารสารบาญชีสวนที่ ๑ ในสมัย ร.๕ ซึ่งตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ.๒๕๒๖ ทำให้ทราบว่าพระพิศาลผล-พานิชเดิมชื่อ “จีนสือ” เป็นขุนนางเชื้อสายจีนซึ่งรับราชการตำแหน่งสำคัญในกรมท่าซ้ายและตั้งบ้านเรือนอยูริมน้ำเจ้าพระยาฝั่งทิศตะวันตก(ฝงธนบุรี) หรือบริเวณศาลเจ้าโรงฟอกหนังในปัจจุบัน จากตำแหน่งที่ตั้งของเจดีย์องคนี้พอจะสันนิษฐานไดว่าพระพิศาลผลพานิชน่าจะมีความสำคัญต่อวัดกำแพงนี้เป็นอย่างมาก เป็นไปได้วาอาจเป็นผู้ออกทุนทรัพย์ในการซ่อมแซมวัด ประกอบกับข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์พระครูศรีปริยัตยานุรักษ์ เจ้าอาวาสองคปัจจุบันพบว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา-เจ้าอยูหัวเคยเสด็จพระราชดำเนินมาพระราชทานพระกฐินต้นเป็นการส่วนพระองคที่วัดนี้ และได้พระราชทานแจกันกังไสไว ๑ คู่โดยลงพระปรมาภิไธยกำกับไว้ ซึ่งทานเจ้าอาวาสได้เคยเก็บรักษาไว้ แตถูกขโมยไปเมื่อ ๑๐กว่าปีมาแลว แน่นอนว่าอย่างน้อยเราไดขอมูลว่าวัดนี้จะต้องเคยเป็นวัดสำคัญที่มีคหบดีหรือขุนนางอุปถัมภ์ละผ่านการบูรณะมาแล้วหลายครั้ง

ข้อมูลประวัติ

       เกิด                     วันอังคาร เดือน 6 ปีวอก พ.ศ.2403  เป็นคนบางบอนใต้ บางขุนเทียน ธนบุรี  เป็นบุตรของ นายเหลือ  นางทอง  ทองเหลือ

                อุปสมบท               อายุ 23 ปี ตรงกับ พ.ศ. 2426  ณ พัทธสีมาวัดกำแพง

                มรณภาพ               ปี 2482

                รวมสิริอายุ             79 ปี 56 พรรษา

วัตถุมงคลที่ได้รับความนิยม

                วัตถุมงคลที่ขึ้นชื่อและได้รับความนิยมมากที่สุดของท่าน ได้แก่ เหรียญหล่อ ปี2478   ซึ่งสร้างขึ้นเนื่องในโอกาสมีอายุครบรอบ 75 ปี มี 2 พิมพ์ คือ เหรียญจอบ  และเหรียญรูปไข่   ซึ่งทั้งสองพิมพ์นี้ได้จัดว่าเป็นที่นิยมมากที่สุด  สร้างจากเนื้อโลหะผสมทองเหลือง  ด้านหลังเหรียญปรากฏอักษรภาษาไทยเป็นตัวนูนระบุว่า “ที่ระฤก ๔๗๘”        

พุทธคุณที่เล่าสืบทอดกันมา

          พุทธคุณในเหรียญรุ่นนี้เด่นทาง  คงกระพันชาตรี  และมหาอุตม์

ผู้ชม : 1193

< ย้อนกลับ